วันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
วิทยานิพนธ์
อืม ! เพื่อนๆ ทุกคน คิดกันได้ยังว่าจะทำเรื่องไรกันดี คิดได้แล้วนะ เพราะพวกเราต้องจบพร้อมๆ กัน และจะไม่ทิ้งกันนะ (สัญญา) พวกเราต้องลุยกันนะตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป สู้สู้ๆๆๆๆๆๆๆ
วันเสาร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2553
ปรัชญาปฏิบัตินิยม
ปรัชญาปฏิบัตินิยม
ปรัชญาปฏิบัตินิยม (Pragmatism) เป็นความคิดที่แพร่หลายทั่วไป ในวงการปรัชญาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา เป็นแนวความคิดของนักปราชญ์กรีกโบราณและนักปราชญ์สมัยใหม่
บางคน จึงตีความได้ว่าความคิดของนักปราชญ์เหล่านั้นจะเป็นต้นแบบของปรัชญาปฏิบัตินิยมได้ นักปราชญ์ที่สำคัญนั้นได้แก่
บางคน จึงตีความได้ว่าความคิดของนักปราชญ์เหล่านั้นจะเป็นต้นแบบของปรัชญาปฏิบัตินิยมได้ นักปราชญ์ที่สำคัญนั้นได้แก่
1. เฮราคลิตุส (Heraclitus) การเปลี่ยนแปลงและการแปรสภาพเท่านั้นที่เป็นจริง ทุกสิ่งในจักรวาลเปลี่ยนแปลงไปสู่แบบและรูปร่างใหม่ๆ ตลอดเวลา
2. โลฟิสต์ (The Sophists) สอนให้พลเมืองของเอเธนส์ก้าวไปสู่ตำแหน่งต่างๆ ในรัฐ พวกเขาจะสอนโดยการคิดค่าเล่าเรียน
3. ฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) ความรู้ทั้งหลายที่มีมาตั้งแต่อดีตจนกระทั่งถึงสมัยของเขาเป็นลักษณะการยอมรับความคิดหรือความรู้เดิม แทนที่จะเป็นวิธีการสำรวจค้นคว้าซึ่งจะทำให้ความรู้ใหม่
4. โอกุสต์ กองต์ (Auguste Comte) วิวัฒนาการความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ว่าเป็นไปตามลำดับขั้น 3 ขั้น ดังนี้
4.1 ขั้นเทววิทยา
4.2 ขั้นอภิปรัชญา
4.3 ขั้นปฏิฐาน
เราจะเห็นได้ว่าวิวัฒนาการของระบบความคิดแบบปฏิบัตินิยมเป็นระบบความคิดที่ใหม่เอี่ยม เพราะแนวความคิดของอเมริกันนั้นแท้ที่จริงก็รับเอาความคิดแบบยุโรปเข้ามา รับทั้งภาษา กฎหมาย
หลักศีลธรรม และศาสนา แต่ก็ได้พยายามปรับให้เข้ากับสภาพชีวิตใหม่ ในดินแดนใหม่
หลักศีลธรรม และศาสนา แต่ก็ได้พยายามปรับให้เข้ากับสภาพชีวิตใหม่ ในดินแดนใหม่
สำหรับแนวความคิดของนักปราชญ์ที่สำคัญยังมีอีกหลายคนซึ่งแต่ละคนก็มีแนวความคิดที่แตกต่างกันไป ซึ่งได้แก่
1. ชาร์ลส์ แซนเดอรส์ เพิร์ซ
1.1 ประวัติและผลงาน เพิร์ซเกิดที่เคมบริดจ์ รัฐแมสซาจูเซต เป็นบุตรชายคนที่สองของเบนจามิน เพิร์ซ ซึ่งเป็นศาสตราจารย์ด้านคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมก็ได้เข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และได้รับปริญญาทางเคมี เพิร์ซได้เข้าร่วมเป็นคณะผู้ทำงานใน The United Coastal and Geodesic Survey และ ณ ที่นี้ เพิร์ซใช้เวลาในการทำวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และปรัชญา เขาได้เริ่มอ่านผลงานของนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงและได้เป็นอาจารย์สอนวิชาประวัติวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่มหาวิทยาลัยที่เขาเรียน จากนั้นก็ได้สอนวิชาตรรกวิทยาที่มหาวิยาลัยจอห์น ฮอปกินส์ เมื่อเขาออกจากงานประจำ ก็ได้เรียบเรียงผลงานการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และปรัชญา งานที่สำคัญของเขาที่ได้รับการจัดพิมพ์มีทั้งหมด 8 เล่ม
1.2 ทฤษฎีความจริง ทฤษฎีความจริงของเขามิได้เป็นไปตามความหมายที่กล่าวมาข้างต้น เขากล่าวถึงความจริงไว้ว่ามีหลายประเภท เช่น ความจริงที่อยู่พ้นประสาทสัมผัส ซึ่งได้แก่ ความจริงเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามสภาพที่มันเป็นอยู่ ประโยคอีกประเภทหนึ่งที่เพิร์ซเห็นว่าไม่สามารถมั่นใจได้แน่นอนร้อยเปอร์เซ็นต์หรือเท็จ คือ ประโยคที่มีสมมุติฐานทางวิทยาศาสตร์ ประโยคที่เป็นสมมุติฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นจริงโดยที่ไม่อาจมั่นใจหรือยืนยันได้อย่างแน่นอน แต่จะมีระดับของความน่าเชื่อหรือความเป็นไปได้ที่แตกต่างกันไป
1.3 ทฤษฎีความสงสัยและความเชื่อถือ ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการหาความรู้ เพิร์ซเริ่มต้นปฏิเสธทฤษฎีความสงสัยของเดการ์ต จนกระทั่งในที่สุดจึงพบว่ามีสิ่งมีชีวิตที่เราสงสัยไม่ได้ ในการอธิบายความสงสัยและความเชื่อ เขาเห็นว่าสิ่งมีชีวิต (มนุษย์) จำเป็นต้องพัฒนานิสัย ให้เหมาะสมเพียงพอที่จะสนองความต้องการจำเป็นของตน เพื่อที่จะทำให้ตนเองมีชีวิตอยู่รอดได้
1.4 วิธีทำให้ความคิดแจ่มแจ้ง การพัฒนาความหมายของความคิดให้แจ่มแจ้งนั้น จะต้องกำหนดนิสัยซึ่งนำไปสู่การกระทำ และจุดประสงค์ของการกระทำทุกครั้งคือ ก่อให้เกิดผลที่เป็นไปได้ตามมา ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าสิ่งที่รับรู้ได้โดยประสาทสัมผัสและเป็นไปทางปฏิบัติ เป็นรากฐานของความคิดที่แจ่มแจ้ง
2. วิลเลียม เจมส์
2.1 ประวัติและผลงาน วิเลียม เจมส์เกิดที่นิวยอร์ค เป็นบุตรของเฮนรี เจมส์ ซีเนียร์ ได้รับการศึกษาทั้งในสหรัฐอเมริกาและในยุโรป มีความสามารถทางด้านภาษาฝรั่งเศสและเยอรมันด้วย ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนแพทย์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้รับปริญญาทางการแพทย์ เป็นอาจารย์สอนวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาที่ฮาร์วาร์ด ผลงานที่สำคัญคือ จิตวิทยาเรื่อง Principle of Psychology ความยาว 2 เล่ม
2.2 ปัญญาอภิปรัชญา อภิปรัชญาเป็นศาสตร์ของสิ่งที่เป็นไปได้ ซึ่งแตกต่างกับสิ่งที่เป็นจริง การทำให้ปัญหาแต่ละปัญหาเหล่านั้นกระจ่างแจ้ง และยุติข้อโต้แย้งลงได้
2.3 ปฏิบัตินิยม วิธีการแบบปฏิบัตินิยมเป็นวิธีการเบื้องต้นในการยุติข้อโต้แย้งทางอภิปรัชญาซึ่งอาจจะไม่มีวันรู้จบได้ เช่น โลกเป็นหนึ่งหรือหลายหลาก ถูกกำหนดหรือเป็นอิสระ เป็นวัตถุหรือเป็นจิต ฯลฯ ความคิดเหล่านี้เพียงความคิดใดความคิดหนึ่งอาจไม่พอสำหรับอธิบายโลกได้และการโต้แย้งกันในเรื่องดังกล่าวนี้ก็ไม่มีทางยุติ
2.4 ความเป็นหนึ่งกับความหลายหลาก ความเป็นจริงสูงสุดของโลกเป็นหนึ่งหรือหลายหลาก เป็นปัญหาที่ไม่อาจยุติได้โดยง่าย ความเป็นหนึ่งกับความหลายหลากโดยวิธีของปฏิบัตินิยม ซึ่งจะทำให้เห็นว่าวิธีการแบบปฏิบัตินิยมสามารถอธิบาย หรือแก้ปัญหาที่สำคัญได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5 ค่าทางจริยะ ความสามารถในการนำมาซึ่งความสุขสนองความต้องการได้อย่างน่าพอใจ แต่หลักนี้ก็มิได้เป็นกฎตายตัวที่กล่าวลอยๆ โดยไม่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์หรือการกระทำ จะใช้ได้เมื่อเรามีโอกาสกระทำกิจกรรมเสียก่อน และสิ่งที่สำคัญที่สุดของหลักปฏิบัตินิยมคือ วิธีการเพื่อนำไปสู่ผลที่ปรารถนา
2.6 ประสบการณ์ทางศาสนา บุคคลทั่วไปมักคิดถึงพระเจ้าในลักษณะที่เป็นสิ่งสัมบูรณ์ สถิตอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง เช่น ในสรวงสวรรค์ แต่เจมส์เห็นว่าเราควรพยายามใช้วิธีการทุกวิธีเพื่อให้เกิดประสบการณ์ทางศาสนาเกี่ยวกับพระเจ้าให้มากที่สุด อาณาจักรของสิ่งที่มองไม่เห็นนี้ไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปของสิ่งที่เป็นอุดมคติอันสูงส่ง แต่ขอให้เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดผลบางอย่างในโลกนี้ พระเจ้าและมนุษย์มีธุรกิจต้องกระทำร่วมกัน เพื่อทำให้ชีวิตของมนุษย์สมปรารถนา
3. จอห์น ดิวอี้
3.1 ประวัติและผลงาน เป็นนักปราชญ์ปฏิบัตินิยมที่มีชื่อเสียงต่อจากเพิร์ซและเจมส์ ดิงอี้เกิดที่เบอร์ลิงตัน รัฐเวอร์มอนต์ ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเวอร์มอนต์ เมื่อสำเร็จการศึกษาได้เป็นครูในโรงเรียนมัธยมในชนบทของเวอร์มอนต์ และเพนซิลเวเนีย และได้รับปริญญาเอก ดิวอี้เป็นอาจารย์สอนปรัชญาในมหาวิทยาลัยมิซิแกน ผลงานของดิวอี้มีมากมายหลายสาขา ทั้งทางด้านจิตวิทยา การศึกษา
จริยศาสตร์ และปรัชญา
จริยศาสตร์ และปรัชญา
3.2 ความคิดเรื่องปรัชญา หน้าที่ของปรัชญาตามความคิดของดิวอี้จึงกว้าง และไม่มีขอบเขตจำกัด ปรัชญาทำหน้าที่ในการวิพากษ์วิจารณ์ เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์สังคม จึงอาจกล่าวได้ว่าโดยเนื้อหาแล้ว ปรัชญาคือ การปฏิบัติ นักปรัชญาไม่มีความจำเป็นต้องแข่งขันกับนักวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความจริงสูงสุดของจักรวาล
3.3 ธรรมชาตินิยม มนุษย์ต่างจากสิ่งไม่มีชีวิตและสิ่งมีชีวิตอื่นตรงที่มนุษย์มีปัญญาหรือความคิดไตร่ตรอง พฤติกรรมของมนุษย์มิได้เป็นไปแบบจักรวาลเหมือนวัตถุหรือเป็นไปตามสัญชาตญาณแบบสัตว์โลกทั่วไป แต่มีการวาดภาพในอนาคตซึ่งเกิดมาจากการใช้ปัญญาไตร่ตรอง เลือกสรรค์สิ่งที่มีอยู่ในปัจจุบันเพื่อจุดหมาย มนุษย์กระทำการต่างๆ อย่างมีจุดหมาย จุดหมายเป็นวิถีที่มนุษย์ปฏิบัติและตอบสนองต่อธรรมชาติซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมของตน การนึกถึงจุดหมายเป็นการใช้ความสามารถทางปัญญาของมนุษย์ที่พัฒนาสูงกว่าสิ่งอื่นในธรรมชาติ
3.4 การศึกษากับทฤษฎีประสบการณ์ เป็นการบุกเบิกการศึกษาแบบก้าวหน้าอย่างแท้จริง โดยโยงไปสัมพันธ์กับความก้าวหน้าของสังคม การศึกษาแบบก้าวหน้าที่ปฏิบัติกันอยู่ในสหรัฐอเมริกาขณะนั้นยังมิได้เข้าถึงความหมายที่แท้จริง พยายามปฏิรูปการศึกษาเพื่อแสดงให้เห็นสิ่งที่แปลกและใหม่ในวงการศึกษาแบบก้าวหน้า
3.5 การศึกษากับสังคม การพัฒนาความนึกคิดและทัศนคติของผู้เยาว์เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับชีวิตที่สืบต่อกันไปและสำหรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม การพัฒนานี้ไม่สามารถกระทำโดยปลูกฝังความเชื่อ ความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ โดยไม่เกี่ยวข้องกับอะไรเลย จำเป็นต้องผ่านตัวกลางคือ สภาพแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สภาพแวดล้อมมีส่วนกำหนดเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในฐานะที่เป็นมนุษย์ต้องมีความผูกพันกับกิจกรรมของคนอื่นเสมอ
3.6 ประชาธิปไตยกับการศึกษา คนเราต้องเผชิญหน้ากับปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่ตลอดเวลา และมักไม่ซ้ำรูปแบบกัน วิธีแก้ปัญหาก็มักจะหันกลับไปหาอดีต เสมือนหนึ่งว่ามีอดีตเป็นภาพจำลองของเหตุการณ์ปัจจุบัน มนุษย์ต้องนึกถึงการดัดแปลงความคิด คุณค่า ประเพณีในอดีต
ปรัชญาปฏิบัตินิยมเสนอความคิดที่แตกต่างกับปรัชญาลัทธิอื่นตรงที่เน้นผลทางปฏิบัติมากกว่าหลักการหรือทฤษฎีแต่การกล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่า หลักการไม่สำคัญคนเราจะแก้ปัญหาใดก็ตามได้ จำเป็นต้องรู้หลักการที่สำคัญเกี่ยวกับสิ่งนั้นก่อน ขณะเดียวกันก็สามารถนำหลักการหรือทฤษฎีนั้นนำมาใช้แก้ปัญหา ปรัชญาปฏิบัตินิยมมุ่งหมายให้คนเราคำนึงถึงความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติมากกว่าจะยึดติดกับทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งอย่างตายตัว เพราะในชีวิตจริงของคนเรานั้น บางครั้งก็ไม่สามารถหาความคิดที่เป็นแบบสำเร็จรูปที่สมบูรณ์พร้อม เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาที่เราเผชิญอยู่ได้ ดังนั้น การเปิดใจให้กว้างและพิจารณาจากหลายด้านอาจช่วยให้การดำเนินชีวิตของเราเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีค่ามากยิ่งขึ้น
วันอังคารที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ความหมายของปรัชญา
ปรัชญากล่าวถึงเรื่องใด มีประโยชน์อย่างไร
ความหมายของปรัชญา
ประโยชน์ของปรัชญา
1. มีการวิเคราะห์ความหมายของภาษา
2. เกณฑ์การตัดสินคุณค่าหรือการกระทำ
3. การมีจิตใจชอบการตรวจสอบวิพากษ์วิจารณ์ (Critical mind)
4. มีการตรวจสอบความเชื่อพื้นฐาน
5. มีการคิดและความเชื่อที่เป็นระบบ
6. มีการแสวงหาคุณค่าและจุดมุ่งหมายของชีวิต
7. มีอิสระทางความคิด
8. ปรัชญาสอนให้คนคิดและจินตนาการ (Imagine) ให้ออกนอกกรอบสู่อาณาจักรที่ไร้พรมแดน
9. ปรัชญาสอนให้คิดมีเหตุและผลและมุ่งแสวงหาปัญญารอบด้าน
10.ปรัชญาสอนให้คนรู้หนทางหรือวิธีในการแก้ไขปัญหาชีวิต
ความหมายของปรัชญา
ปรัชญา มาจากการสนธิคำสองคำ คือคำว่า ปฺร กับคำว่า ชฺญา ปฺร เป็นอุปสรรค แปลว่า ประเสริฐ ชฺญา แปลว่า ความรู้ ดังนั้นคำว่า ปรัชญา จึงแปลว่า ความรู้อันประเสริฐ ความรู้ที่ดีเลิศ ความรู้อันสูงสุด ความรู้รอบ ความรู้ทั่ว หรือความเปรื่องปราด มาจากภาษากรีกโบราณคือ "Philosophia" ("philos"+"sophia") "philos" แปลว่า ความรัก, ความชอบ,ความสนใจ,ศรัทธา หรือความเลื่อมใส "sophia" แปลว่า ความรู้, ความฉลาด,สติปัญญา, ความเป็นปราชญ์ หรือความเปรื่องปราด Philosophyแปลว่า ความรักความสนใจในความรู้ ความสนใจในความฉลาด หรือความชอบ ความใฝ่ใจในการแสวงหาความรู้ ความรักในการศึกษาเล่าเรียน อยากฉลาด อยากเป็นนักปราชญ์ อยากเป็นบัณฑิต
และนอกจากนี้ ปรัชญา คือ กิจกรรมทางปัญญาหรือการสร้างระบบความคิด เพื่อการแสวงหาคำอธิบายให้กับคำถามที่เป็นพื้นฐานที่สุดของชีวิต เช่น จุดประสงค์ของชีวิตคืออะไร พระเจ้ามีอยู่จริงหรือไม่ เราจะแยก “ถูก” กับ “ผิด” ออกจากกันได้อย่างไร สิ่งที่เรากระทำเป็นไปโดยอิสระของตัวเอง หรือเป็นเพราะโชคชะตาลิขิต เป็นต้น โดยคำถามทางปรัชญาต่างจากคำถามทางวิทยาศาสตร์หรือ คำถามที่ต้องการคำตอบที่แน่ชัดและสามารถหาคำตอบได้ด้วยวิธีการ เชิงประจักษ์หรือการเลือกแหล่งอ้างอิงที่เหมาะสม กล่าวได้ว่า คำถามทางปรัชญาเป็นคำถามที่เจาะลึกลงไปหาแนวความคิดพื้นฐาน หรือ “หลักการ” ดังนั้น ความท้าทายของการหาคำตอบทางปรัชญาคือการนำเอาหลักการ และแนวคิดพื้นฐานนั้นไปอธิบายสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดนั้น ๆ (เช่น ความจริง ถูก-ผิด ยุติธรรม ฯลฯ) ปรัชญาโดยกว้างๆทั่วไป ก็พูดถึงความจริงที่สิ้นสุด ความจริงที่สูงสุด ความจริงขั้นสุดท้าย รวมทั้งวิธีการที่จะนำไปสู่ความจริงนั้น ล้วนเป็นผลรวมแห่งประสบการณ์เดิมที่ได้ผ่านการพิจารณาหรือไตร่ตรอง รวมทั้งพิสูจน์ทดลองมาอย่างรอบคอบถี่ถ้วนครบทุกขั้นตอน จนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ดีที่สุด
ประโยชน์ของปรัชญา
1. มีการวิเคราะห์ความหมายของภาษา
2. เกณฑ์การตัดสินคุณค่าหรือการกระทำ
3. การมีจิตใจชอบการตรวจสอบวิพากษ์วิจารณ์ (Critical mind)
4. มีการตรวจสอบความเชื่อพื้นฐาน
5. มีการคิดและความเชื่อที่เป็นระบบ
6. มีการแสวงหาคุณค่าและจุดมุ่งหมายของชีวิต
7. มีอิสระทางความคิด
8. ปรัชญาสอนให้คนคิดและจินตนาการ (Imagine) ให้ออกนอกกรอบสู่อาณาจักรที่ไร้พรมแดน
9. ปรัชญาสอนให้คิดมีเหตุและผลและมุ่งแสวงหาปัญญารอบด้าน
10.ปรัชญาสอนให้คนรู้หนทางหรือวิธีในการแก้ไขปัญหาชีวิต
วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2553
การบ้าน
1-2. วิทยาศาสตร์คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร
วิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการค้นหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนที่สามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีขั้นตอนและสามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีระเบียบกฎเกณฑ์ และ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
มีความเป็นมาอย่างไร คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ คือ “กาลิเลโอ กาลิเลอี” เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป ณ. ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
• ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน”แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด "
• ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์
เวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่นๆ ของวิทยาศาสตร์ก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ) โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่ อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น
การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์ เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่นๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์ขยะ" หรือศาสตร์ปลอม
3-4. ปรัชญาวิทยาศาสตร์คืออะไร เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร
ปรัชญาวิทยาศาสตร์คือ ปรัชญาเน้นในเรื่องของความเชื่อของที่ไปที่มาของความรู้ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิพากษ์วิจารย์วิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์มโนทัศน์ และในการศึกษาธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ การวิพากษ์แสดงความเห็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยวิเคราะห์ถึงการปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ อาจจะอยู่ในรูปของการดำเนินการด้วยตัวเองโดยตรงเช่นการวิพากวิจารย์จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ และในเทอมของนโยบายทางสังคมเป็นต้นว่าการเข้าไปเกี่ยวข้องกับการวิจัยทางด้านพันธุศาสตร์ของมนุษย์
ส่วนการวิเคราะห์มโนทัศน์ได้แก่การอภิปรายและสำรวจถึงมโนทัศน์หลักที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ เช่นอะไรที่เป็นธรรมชาติของการคัดเลือกตามธรรมชาติ อะไรที่นักเคมีหมายความถึงโดยสารเหตุ การเคลื่อนพัดล่องลอยไปนั้นคือแรงหรือเปล่า ในกรณีธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ได้มีการกำหนดให้วิทยาศาสตร์ควรจะดำเนินไปเหมือนกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) และอธิบายว่าวิทยาศาสตร์ดำเนินไปอย่างไรเช่นเดียวกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ เช่นในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (paradigm shifts) การวิวัฒนาการ และวิวัฒนาการของชาติพันธ์เกี่ยวกับความคิด(evolution and phylogny of idea)
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คือ วิทยาศาสตร์และปรัชญาต่างมีธรรมชาติของตน วิทยาศาสตร์ไม่ใช่ปรัชญา เพราะว่ามันเจาะจงศึกษาความจริงเพื่อนำไปใช้สู่ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้มุ่งความสนใจไปที่คำถามที่เป็นปัญหาของปรัชญา (ความจริงคืออะไร? รู้ได้อย่างไร? ฯลฯ) โดยตรง วิทยาศาสตร์สนใจทำการศึกษาค้นคว้าทดลองตามหลักการของตน เพื่อตอบปัญหาในสิ่งที่วิทยาศาสตร์สนใจ
ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ต่างมีพื้นฐานบนความจริงที่มนุษย์ตั้งคำถามและพยามศึกษาหาคำ ตอบในประเด็น/โจทย์ที่สอดคล้องกับบริบทตามธรรมชาติของตน โดยสรุปภาพรวมได้ดังนี้
1 ในฐานะที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ ย่อมมีจุดหมาย คือ การแสวงหาความจริง อันเป็นคุณลักษณะโดยทั่วไปของทุกศาสตร์ แต่ความจริงที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์มุ่งตอบนี้มีรายละเอียดด้านคำถาม และวิธีการตอบที่แตกต่างกัน กล่าวคือ
ก. ในขณะที่ปรัชญาตั้งคำถามว่า "ความจริงคืออะไร รู้ได้อย่างไรและเอาอะไรมาตัดสินความจริง?" (What/Why to be) อันเป็นคำถามที่พิจารณาถึงคุณค่าและความหมายของความจริง โดยยึดสิ่งนั้น (Object) เป็นศูนย์กลาง โดยไม่ใส่ใจว่าความจริงของสิ่งนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในชีวิตหรือ ไม่ ในขณะที่วิทยาศาสตร์ตั้งคำถามว่า "ความจริงเป็นอย่างไร จะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร" (How to be) อันเป็นคำถามที่ยึดมนุษย์เป็นศูนย์กลางในการตั้งและตอบคำถาม (Subject) วิทยาศาสตร์จึงสนใจคำตอบในรายละเอียดของสิ่งนั้น เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน /อนาคต (ความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิต)
ข. ปรัชญาจะเน้นการแสวงหาความจริงโดยอาศัยสติปัญญา ตามหลักเหตุ-ผล (ใช้ตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือ มุ่งสู่มโนภาพ/สากลของสิ่งนั้น) ในขณะที่วิทยาศาสตร์เน้นประสบการณ์ที่สามารถพิสูจน์ได้ในระดับประสาทสัมผัส เพื่อค้นหากฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เพื่อควบคุมหรือคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น
2 ความรู้ด้านปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ต่างสะท้อนถึงคุณลักษณะพิเศษของมนุษย์ ในฐานะเป็นผู้มีสติปัญญา พยายามศึกษาค้นคว้าหาคำตอบเกี่ยวกับความจริง แต่สิ่งที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ใส่ใจมีรายละเอียดต่างกัน กล่าวคือ
ก. ปรัชญาเน้นการตั้งคำถามและตอบตามเหตุ-ผล นำสู่หลักการ
และ แนวทางการดำเนินชีวิต คำตอบจึงยังไม่ขีดเส้นตายสิ้นสุด แต่ยังมีคำตอบที่สามารถโต้แย้งได้ไม่สิ้นสุด ในขณะที่วิทยาศาสตร์จะพิจารณาคำถาม และตอบให้จบเป็นประเด็น ๆ ไป คำตอบที่ได้รับมีลักษณะเป็นสากล
ข. ปรัชญาสะท้อนถึงธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นอะไรมากกว่ากฎเกณฑ์หรือหลักการที่ ตายตัว ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ทั้งหมด เพราะมนุษย์มีสติปัญญา มีความสำนึก มีเสรีภาพที่สามารถตัดสินใจเลือกวิถีชีวิตของตน ในขณะที่วิทยาศาสตร์สะท้อนให้เห็นถึงคุณลักษณะของมนุษย์ที่ยังคงมีความต้อง การในระดับประสาทสัมผัส ที่จำเป็นต้องได้รับการสนองความต้องการ
ใน ฐานะที่ปรัชญาเป็น "ศาสตร์แห่งศาสตร์ทั้งหลาย" (ก่อนที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างไร ต้องรู้ก่อนว่าสิ่งนั้นเป็นอะไร) เราจึงพอจะมองเห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ปรัชญาเป็นเหมือนกับ "มารดา" ที่มีวิทยาศาสตร์เป็นดัง "บุตร" วิทยาศาสตร์เป็นการต่อยอดความรู้ความจริงของมนุษย์ เพื่อการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
5-6 . วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างไร
วิธีทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ (Scientific method) เป็นหลักการพื้นฐานของการตรวจสอบและเสาะหาความรู้ใหม่แบบวิทยาศาสตร์ ที่ใช้หลักฐานทางกายภาพ นักวิทยาศาสตร์เสนอความเชื่อใหม่เกี่ยวกับโลกในรูปของทฤษฎีที่ผ่านขั้นตอนของ การสังเกต, การตั้งสมมติฐาน, และการอนุมาน ผลการทำนายของทฤษฎีเหล่านี้จะถูกทดสอบด้วยการทดลอง ถ้าผลการทำนายนั้นถูกต้องหรือสอดคล้องกับการทดลอง ทฤษฎีดังกล่าวจะถูกเก็บไว้ ทฤษฎีที่ความน่าเชื่อถือจะถูกนำไปทดลองซ้ำเพื่อยืนยันความถูกต้องเพิ่มเติม ระเบียบวิธีนี้ถูกจัดให้เป็นตรรกะสำคัญของธรรมเนียมปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ โดยสาระสำคัญนั้นระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือวิธีการที่รอบคอบมาก สำหรับสร้างความเข้าใจ ที่มีหลักฐานและยืนยันได้เกี่ยวกับโลก
องค์ประกอบสำคัญของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือการวนซ้ำของขั้นตอนด้านล่าง และการใช้วิธีดังกล่าวซ้ำภายในขั้นตอนย่อย:
1. การระบุลักษณะเฉพาะ (Characterization)
2. การตั้งสมมติฐาน (การสร้างคำอธิบายเชิงทฤษฎีที่มีความเป็นไปได้)
3. การทำนายผล (การอนุมานเชิงตรรกศาสตร์จากสมมติฐาน)
4. การทดลอง (การทดสอบขั้นตอนทั้งหมด)
ขั้นตอนด้านบนคือระเบียบวิธีแบบสมมติฐาน-อนุมาน และใช้การสังเกตในขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่สี่ แต่ละขั้นตอนจะต้องผ่านกระบวนการ peer review เพื่อป้องกันความผิดพลาด กิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้ระบุสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทำทั้งหมด (ดูด้านล่าง) แต่อธิบายถึงวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง (เช่น ฟิสิกส์ และเคมี) ขั้นตอนด้านต้นมักใช้ในการเรียนการสอน1
7-8 วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่นอย่างไร
วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่น คือ
1. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งอธิบายปรากฏการณ์ความจริงของธรรมชาติผ่านกระบวนการ
ทดลองหาหลักฐานเชิงประจักษ์ มีผลต่อการควบคุมและประยุกต์ต่อการคิดค้นเทคโนโลยีเพื่อมนุษยชาติ
2. คุณค่าของวิทยาศาสตร์มีต่อการเพิ่มค่าทางเศรษฐกิจ การค้นหาความจริง และเพิ่มค่าทางปัญญา (Eonomic Values, Truth Searching Values, Wisdom Values)
3. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่สัมพันธ์กันระหว่างวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) สังคมศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ (Medical Science) และเศรษฐศาสตร์
4. เป้าประสงค์สูงสุดของวิทยาศาสตร์ คือ นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้จาก วิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อความผาสุก และการมีชีวิตที่มีคุณภาพของมนุษย์ การวางนโยบายและการ ตัดสินใจในยุทธศาสตร์ของประเทศ ควรมุ่งส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ การประยุกต์วิทยาศาสตร์ เพื่อสังคมที่พัฒนาอย่างยั่งยืน
5. การวางนโยบายของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ควรมีเป้าประสงค์ไปที่พัฒนาความ สามารถ
(Capacity Building) ของมนุษย์ สังคม และสถาบันต่าง ๆ ในการมีพื้นฐานความรู้ ความคิด กระบวน
วิธีการ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ให้ส่งผลต่อการเพิ่มกำลังการผลิต และส่งผลต่อการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ
7. หลักการสำคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ระหว่างชาติ คือ หนึ่งโลก หนึ่งวิทยาศาสตร์ และหนึ่งมนุษยชาติ (One Planet, One Science, One Mankind) วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้ (Knowledge) เป็นกระบวนการ (Process) เป็นเครื่องมือ (Tools) และเป็นผลิตผล(Product)
8. ยึดหลักจริยศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เช่น
8.1 ความรู้คู่กับความรับผิดชอบต่อมวลมนุษย์ เคารพสิทธิการเป็นมนุษย์ที่เสมอภาคกัน
8.2 วิทยาศาสตร์รับผิดชอบต่อการส่งผล (Accountable Responsibility) ช่วยแก้ปัญหาที่เป็นความกดดันของสังคม ความยากจน ไม่มีอคติ มุ่งต่อคุณประโยชน์ ต่อคน สังคม สิ่งแวดล้อม
8.3 มีความสมดุลระหว่างการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ (Property Right) กับการแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ใหม่ ๆ ให้กับมนุษย์ในประเทศที่มีระดับพัฒนา ด้อยกว่า จริงใจในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ ของชาติต่าง ๆ ให้ทัดเทียมเสมอภาคและลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ
8.4 การจัดการเรียนการสอน ควรพัฒนาจริยธรรมควบคู่กับความรู้ สร้างเจตคติที่ดี ต่อมวลมนุษย์ และความเมตตากรุณา (Compassion)
9. วิทยาศาสตร์ช่วยสร้างวัฒนธรรมใหม่ของสังคมที่ยึดถือเหตุผล ความจริง การวิจั คิดค้นแสวงหานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาและปรับปรุงความเป็นอยู่ มีความสมดุลระหว่างการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
10. ทิศทางใหม่ ๆ ของการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น การวิจัยพัฒนาการผลิตอาหาร พันธุศาสตร์ (Genetic Engineering) ยารักษาโรค การแสวงหา แหล่งน้ำและพลังงานผ่านทาง GIS (Geographic Information System) การวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
11. กลไกสำคัญความสำเร็จของการพัฒนาวิทยาศาสตร์อยู่ที่นโยบายระดับชาติ การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยพัฒนา การปฏิรูปบทบาทของสถาบันและมหาวิทยาลัย การสร้างชุมชนวิทยาศาสตร์ระดับท้องถิ่น ชาติ และระดับโลก (Global Scientific Community
9-10 การนำหลักปรัชญาและวิสัยทัศน์มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างไร
วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) เป็น
แผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาและบริหารประเทศโดยยึดหลักทาง สายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังนี้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
การจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของสังคมไทยใน ๒๐ ปีข้างหน้า โดยนำความคิดของทุกฝ่ายในสังคมและทุกระดับทั้งระดับจังหวัด ระดับอนุภาค และระดับชาติ มาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบให้เกิดเป็น “วิสัยทัศน์ร่วม” ที่สังคมไทยยอมรับร่วมกัน โดยคำนึงถึงสถานการณ์และกระแส การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ที่จะมีผลต่อการกำหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาประเทศในอนาคตได้อย่างสมเหตุสมผล มีจุดมุ่งหมายและค่านิยมร่วม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งให้คนไทยสามารถพึ่งตนเองได้ พร้อมที่จะเรียนรู้โลกาภิวัตน์และรู้จักเลือกนำมาใช้อย่างมีเหตุผล โดยยึดหลักทางสายกลางและมีภูมิคุ้มกัน ทั้งนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาได้ทุกระดับ ตั้งแต่การดำรงวิถีชีวิตส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และยังปรับใช้ได้กับทุกสาขาการพัฒนา ซึ่งจะนำไปสู่สังคมไทยที่พึงประสงค์ ตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงและสร้างคุณค่าที่ดีให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงเป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระยะปานกลางที่มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาว และมีการดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ในด้านแนวคิดที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ สมดุล ทั้งด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ไขปัญหาความยากจน การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้พ้นจากวิกฤต พร้อมไปกับการ วางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง และการสร้างระบบการบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุกระดับ
ลักษณะสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ คือ เป็นแผนที่ดำเนินการในช่วงเปลี่ยนผ่านสำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศ ทำให้จำเป็นต้องปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมที่ยัง
ไม่ได้ดำเนินการและคั่งค้างมาจากระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการที่ดีที่มีการระดมทรัพยากรที่มีอยู่จากทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งทุนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงมีความ
แตกต่างจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ที่จุดเน้นการให้ความสำคัญกับแนวทางการพัฒนาที่มีความชัดเจนเพียงพอสามารถนำไปจัดทำแผนปฏิบัติต่อได้ และสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดสรรทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่จำกัดให้เหมาะสมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมตลอดทั้งยังให้ความสำคัญกับการจัดระบบกลไกบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สามารถแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
1-2. วิทยาศาสตร์คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร
วิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการค้นหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนที่สามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีขั้นตอนและสามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีระเบียบกฎเกณฑ์ และ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
มีความเป็นมาอย่างไร คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ คือ “กาลิเลโอ กาลิเลอี” เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป ณ. ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
• ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน”แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด "
• ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์
เวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่นๆ ของวิทยาศาสตร์ก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ) โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่ อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น
การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์ เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่นๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์ขยะ" หรือศาสตร์ปลอม
3-4. ปรัชญาวิทยาศาสตร์คืออะไร เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร
ปรัชญาวิทยาศาสตร์คือ ปรัชญาเน้นในเรื่องของความเชื่อของที่ไปที่มาของความรู้ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิพากษ์วิจารย์วิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์มโนทัศน์ และในการศึกษาธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ การวิพากษ์แสดงความเห็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยวิเคราะห์ถึงการปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ อาจจะอยู่ในรูปของการดำเนินการด้วยตัวเองโดยตรงเช่นการวิพากวิจารย์จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ และในเทอมของนโยบายทางสังคมเป็นต้นว่าการเข้าไปเกี่ยวข้องกับการวิจัยทางด้านพันธุศาสตร์ของมนุษย์
ส่วนการวิเคราะห์มโนทัศน์ได้แก่การอภิปรายและสำรวจถึงมโนทัศน์หลักที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ เช่นอะไรที่เป็นธรรมชาติของการคัดเลือกตามธรรมชาติ อะไรที่นักเคมีหมายความถึงโดยสารเหตุ การเคลื่อนพัดล่องลอยไปนั้นคือแรงหรือเปล่า ในกรณีธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ได้มีการกำหนดให้วิทยาศาสตร์ควรจะดำเนินไปเหมือนกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) และอธิบายว่าวิทยาศาสตร์ดำเนินไปอย่างไรเช่นเดียวกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ เช่นในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (paradigm shifts) การวิวัฒนาการ และวิวัฒนาการของชาติพันธ์เกี่ยวกับความคิด(evolution and phylogny of idea)
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คือ วิทยาศาสตร์และปรัชญาต่างมีธรรมชาติของตน วิทยาศาสตร์ไม่ใช่ปรัชญา เพราะว่ามันเจาะจงศึกษาความจริงเพื่อนำไปใช้สู่ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้มุ่งความสนใจไปที่คำถามที่เป็นปัญหาของปรัชญา (ความจริงคืออะไร? รู้ได้อย่างไร? ฯลฯ) โดยตรง วิทยาศาสตร์สนใจทำการศึกษาค้นคว้าทดลองตามหลักการของตน เพื่อตอบปัญหาในสิ่งที่วิทยาศาสตร์สนใจ
ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ต่างมีพื้นฐานบนความจริงที่มนุษย์ตั้งคำถามและพยามศึกษาหาคำ ตอบในประเด็น/โจทย์ที่สอดคล้องกับบริบทตามธรรมชาติของตน โดยสรุปภาพรวมได้ดังนี้
1 ในฐานะที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ ย่อมมีจุดหมาย คือ การแสวงหาความจริง อันเป็นคุณลักษณะโดยทั่วไปของทุกศาสตร์ แต่ความจริงที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์มุ่งตอบนี้มีรายละเอียดด้านคำถาม และวิธีการตอบที่แตกต่างกัน กล่าวคือ
ก. ในขณะที่ปรัชญาตั้งคำถามว่า "ความจริงคืออะไร รู้ได้อย่างไรและเอาอะไรมาตัดสินความจริง?" (What/Why to be) อันเป็นคำถามที่พิจารณาถึงคุณค่าและความหมายของความจริง โดยยึดสิ่งนั้น (Object) เป็นศูนย์กลาง โดยไม่ใส่ใจว่าความจริงของสิ่งนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในชีวิตหรือ ไม่ ในขณะที่วิทยาศาสตร์ตั้งคำถามว่า "ความจริงเป็นอย่างไร จะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร" (How to be) อันเป็นคำถามที่ยึดมนุษย์เป็นศูนย์กลางในการตั้งและตอบคำถาม (Subject) วิทยาศาสตร์จึงสนใจคำตอบในรายละเอียดของสิ่งนั้น เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน /อนาคต (ความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิต)
ข. ปรัชญาจะเน้นการแสวงหาความจริงโดยอาศัยสติปัญญา ตามหลักเหตุ-ผล (ใช้ตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือ มุ่งสู่มโนภาพ/สากลของสิ่งนั้น) ในขณะที่วิทยาศาสตร์เน้นประสบการณ์ที่สามารถพิสูจน์ได้ในระดับประสาทสัมผัส เพื่อค้นหากฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เพื่อควบคุมหรือคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น
2 ความรู้ด้านปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ต่างสะท้อนถึงคุณลักษณะพิเศษของมนุษย์ ในฐานะเป็นผู้มีสติปัญญา พยายามศึกษาค้นคว้าหาคำตอบเกี่ยวกับความจริง แต่สิ่งที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ใส่ใจมีรายละเอียดต่างกัน กล่าวคือ
ก. ปรัชญาเน้นการตั้งคำถามและตอบตามเหตุ-ผล นำสู่หลักการ
และ แนวทางการดำเนินชีวิต คำตอบจึงยังไม่ขีดเส้นตายสิ้นสุด แต่ยังมีคำตอบที่สามารถโต้แย้งได้ไม่สิ้นสุด ในขณะที่วิทยาศาสตร์จะพิจารณาคำถาม และตอบให้จบเป็นประเด็น ๆ ไป คำตอบที่ได้รับมีลักษณะเป็นสากล
ข. ปรัชญาสะท้อนถึงธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นอะไรมากกว่ากฎเกณฑ์หรือหลักการที่ ตายตัว ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ทั้งหมด เพราะมนุษย์มีสติปัญญา มีความสำนึก มีเสรีภาพที่สามารถตัดสินใจเลือกวิถีชีวิตของตน ในขณะที่วิทยาศาสตร์สะท้อนให้เห็นถึงคุณลักษณะของมนุษย์ที่ยังคงมีความต้อง การในระดับประสาทสัมผัส ที่จำเป็นต้องได้รับการสนองความต้องการ
ใน ฐานะที่ปรัชญาเป็น "ศาสตร์แห่งศาสตร์ทั้งหลาย" (ก่อนที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างไร ต้องรู้ก่อนว่าสิ่งนั้นเป็นอะไร) เราจึงพอจะมองเห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ปรัชญาเป็นเหมือนกับ "มารดา" ที่มีวิทยาศาสตร์เป็นดัง "บุตร" วิทยาศาสตร์เป็นการต่อยอดความรู้ความจริงของมนุษย์ เพื่อการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
5-6 . วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างไร
วิธีทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ (Scientific method) เป็นหลักการพื้นฐานของการตรวจสอบและเสาะหาความรู้ใหม่แบบวิทยาศาสตร์ ที่ใช้หลักฐานทางกายภาพ นักวิทยาศาสตร์เสนอความเชื่อใหม่เกี่ยวกับโลกในรูปของทฤษฎีที่ผ่านขั้นตอนของ การสังเกต, การตั้งสมมติฐาน, และการอนุมาน ผลการทำนายของทฤษฎีเหล่านี้จะถูกทดสอบด้วยการทดลอง ถ้าผลการทำนายนั้นถูกต้องหรือสอดคล้องกับการทดลอง ทฤษฎีดังกล่าวจะถูกเก็บไว้ ทฤษฎีที่ความน่าเชื่อถือจะถูกนำไปทดลองซ้ำเพื่อยืนยันความถูกต้องเพิ่มเติม ระเบียบวิธีนี้ถูกจัดให้เป็นตรรกะสำคัญของธรรมเนียมปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ โดยสาระสำคัญนั้นระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือวิธีการที่รอบคอบมาก สำหรับสร้างความเข้าใจ ที่มีหลักฐานและยืนยันได้เกี่ยวกับโลก
องค์ประกอบสำคัญของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือการวนซ้ำของขั้นตอนด้านล่าง และการใช้วิธีดังกล่าวซ้ำภายในขั้นตอนย่อย:
1. การระบุลักษณะเฉพาะ (Characterization)
2. การตั้งสมมติฐาน (การสร้างคำอธิบายเชิงทฤษฎีที่มีความเป็นไปได้)
3. การทำนายผล (การอนุมานเชิงตรรกศาสตร์จากสมมติฐาน)
4. การทดลอง (การทดสอบขั้นตอนทั้งหมด)
ขั้นตอนด้านบนคือระเบียบวิธีแบบสมมติฐาน-อนุมาน และใช้การสังเกตในขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่สี่ แต่ละขั้นตอนจะต้องผ่านกระบวนการ peer review เพื่อป้องกันความผิดพลาด กิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้ระบุสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทำทั้งหมด (ดูด้านล่าง) แต่อธิบายถึงวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง (เช่น ฟิสิกส์ และเคมี) ขั้นตอนด้านต้นมักใช้ในการเรียนการสอน1
7-8 วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่นอย่างไร
วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่น คือ
1. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งอธิบายปรากฏการณ์ความจริงของธรรมชาติผ่านกระบวนการ
ทดลองหาหลักฐานเชิงประจักษ์ มีผลต่อการควบคุมและประยุกต์ต่อการคิดค้นเทคโนโลยีเพื่อมนุษยชาติ
2. คุณค่าของวิทยาศาสตร์มีต่อการเพิ่มค่าทางเศรษฐกิจ การค้นหาความจริง และเพิ่มค่าทางปัญญา (Eonomic Values, Truth Searching Values, Wisdom Values)
3. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่สัมพันธ์กันระหว่างวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) สังคมศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ (Medical Science) และเศรษฐศาสตร์
4. เป้าประสงค์สูงสุดของวิทยาศาสตร์ คือ นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้จาก วิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อความผาสุก และการมีชีวิตที่มีคุณภาพของมนุษย์ การวางนโยบายและการ ตัดสินใจในยุทธศาสตร์ของประเทศ ควรมุ่งส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ การประยุกต์วิทยาศาสตร์ เพื่อสังคมที่พัฒนาอย่างยั่งยืน
5. การวางนโยบายของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ควรมีเป้าประสงค์ไปที่พัฒนาความ สามารถ
(Capacity Building) ของมนุษย์ สังคม และสถาบันต่าง ๆ ในการมีพื้นฐานความรู้ ความคิด กระบวน
วิธีการ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ให้ส่งผลต่อการเพิ่มกำลังการผลิต และส่งผลต่อการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ
7. หลักการสำคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ระหว่างชาติ คือ หนึ่งโลก หนึ่งวิทยาศาสตร์ และหนึ่งมนุษยชาติ (One Planet, One Science, One Mankind) วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้ (Knowledge) เป็นกระบวนการ (Process) เป็นเครื่องมือ (Tools) และเป็นผลิตผล(Product)
8. ยึดหลักจริยศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เช่น
8.1 ความรู้คู่กับความรับผิดชอบต่อมวลมนุษย์ เคารพสิทธิการเป็นมนุษย์ที่เสมอภาคกัน
8.2 วิทยาศาสตร์รับผิดชอบต่อการส่งผล (Accountable Responsibility) ช่วยแก้ปัญหาที่เป็นความกดดันของสังคม ความยากจน ไม่มีอคติ มุ่งต่อคุณประโยชน์ ต่อคน สังคม สิ่งแวดล้อม
8.3 มีความสมดุลระหว่างการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ (Property Right) กับการแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ใหม่ ๆ ให้กับมนุษย์ในประเทศที่มีระดับพัฒนา ด้อยกว่า จริงใจในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ ของชาติต่าง ๆ ให้ทัดเทียมเสมอภาคและลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ
8.4 การจัดการเรียนการสอน ควรพัฒนาจริยธรรมควบคู่กับความรู้ สร้างเจตคติที่ดี ต่อมวลมนุษย์ และความเมตตากรุณา (Compassion)
9. วิทยาศาสตร์ช่วยสร้างวัฒนธรรมใหม่ของสังคมที่ยึดถือเหตุผล ความจริง การวิจั คิดค้นแสวงหานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาและปรับปรุงความเป็นอยู่ มีความสมดุลระหว่างการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
10. ทิศทางใหม่ ๆ ของการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น การวิจัยพัฒนาการผลิตอาหาร พันธุศาสตร์ (Genetic Engineering) ยารักษาโรค การแสวงหา แหล่งน้ำและพลังงานผ่านทาง GIS (Geographic Information System) การวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
11. กลไกสำคัญความสำเร็จของการพัฒนาวิทยาศาสตร์อยู่ที่นโยบายระดับชาติ การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยพัฒนา การปฏิรูปบทบาทของสถาบันและมหาวิทยาลัย การสร้างชุมชนวิทยาศาสตร์ระดับท้องถิ่น ชาติ และระดับโลก (Global Scientific Community
9-10 การนำหลักปรัชญาและวิสัยทัศน์มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างไร
วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) เป็น
แผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาและบริหารประเทศโดยยึดหลักทาง สายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังนี้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
การจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของสังคมไทยใน ๒๐ ปีข้างหน้า โดยนำความคิดของทุกฝ่ายในสังคมและทุกระดับทั้งระดับจังหวัด ระดับอนุภาค และระดับชาติ มาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบให้เกิดเป็น “วิสัยทัศน์ร่วม” ที่สังคมไทยยอมรับร่วมกัน โดยคำนึงถึงสถานการณ์และกระแส การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ที่จะมีผลต่อการกำหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาประเทศในอนาคตได้อย่างสมเหตุสมผล มีจุดมุ่งหมายและค่านิยมร่วม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งให้คนไทยสามารถพึ่งตนเองได้ พร้อมที่จะเรียนรู้โลกาภิวัตน์และรู้จักเลือกนำมาใช้อย่างมีเหตุผล โดยยึดหลักทางสายกลางและมีภูมิคุ้มกัน ทั้งนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาได้ทุกระดับ ตั้งแต่การดำรงวิถีชีวิตส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และยังปรับใช้ได้กับทุกสาขาการพัฒนา ซึ่งจะนำไปสู่สังคมไทยที่พึงประสงค์ ตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงและสร้างคุณค่าที่ดีให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงเป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระยะปานกลางที่มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาว และมีการดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ในด้านแนวคิดที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ สมดุล ทั้งด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ไขปัญหาความยากจน การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้พ้นจากวิกฤต พร้อมไปกับการ วางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง และการสร้างระบบการบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุกระดับ
ลักษณะสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ คือ เป็นแผนที่ดำเนินการในช่วงเปลี่ยนผ่านสำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศ ทำให้จำเป็นต้องปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมที่ยัง
ไม่ได้ดำเนินการและคั่งค้างมาจากระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการที่ดีที่มีการระดมทรัพยากรที่มีอยู่จากทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งทุนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงมีความ
แตกต่างจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ที่จุดเน้นการให้ความสำคัญกับแนวทางการพัฒนาที่มีความชัดเจนเพียงพอสามารถนำไปจัดทำแผนปฏิบัติต่อได้ และสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดสรรทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่จำกัดให้เหมาะสมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมตลอดทั้งยังให้ความสำคัญกับการจัดระบบกลไกบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สามารถแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
วิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการค้นหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนที่สามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีขั้นตอนและสามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีระเบียบกฎเกณฑ์ และ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
มีความเป็นมาอย่างไร คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ คือ “กาลิเลโอ กาลิเลอี” เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป ณ. ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
• ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน”แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด "
• ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์
เวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่นๆ ของวิทยาศาสตร์ก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ) โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่ อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น
การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์ เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่นๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์ขยะ" หรือศาสตร์ปลอม
3-4. ปรัชญาวิทยาศาสตร์คืออะไร เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร
ปรัชญาวิทยาศาสตร์คือ ปรัชญาเน้นในเรื่องของความเชื่อของที่ไปที่มาของความรู้ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิพากษ์วิจารย์วิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์มโนทัศน์ และในการศึกษาธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ การวิพากษ์แสดงความเห็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยวิเคราะห์ถึงการปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ อาจจะอยู่ในรูปของการดำเนินการด้วยตัวเองโดยตรงเช่นการวิพากวิจารย์จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ และในเทอมของนโยบายทางสังคมเป็นต้นว่าการเข้าไปเกี่ยวข้องกับการวิจัยทางด้านพันธุศาสตร์ของมนุษย์
ส่วนการวิเคราะห์มโนทัศน์ได้แก่การอภิปรายและสำรวจถึงมโนทัศน์หลักที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ เช่นอะไรที่เป็นธรรมชาติของการคัดเลือกตามธรรมชาติ อะไรที่นักเคมีหมายความถึงโดยสารเหตุ การเคลื่อนพัดล่องลอยไปนั้นคือแรงหรือเปล่า ในกรณีธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ได้มีการกำหนดให้วิทยาศาสตร์ควรจะดำเนินไปเหมือนกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) และอธิบายว่าวิทยาศาสตร์ดำเนินไปอย่างไรเช่นเดียวกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ เช่นในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (paradigm shifts) การวิวัฒนาการ และวิวัฒนาการของชาติพันธ์เกี่ยวกับความคิด(evolution and phylogny of idea)
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คือ วิทยาศาสตร์และปรัชญาต่างมีธรรมชาติของตน วิทยาศาสตร์ไม่ใช่ปรัชญา เพราะว่ามันเจาะจงศึกษาความจริงเพื่อนำไปใช้สู่ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้มุ่งความสนใจไปที่คำถามที่เป็นปัญหาของปรัชญา (ความจริงคืออะไร? รู้ได้อย่างไร? ฯลฯ) โดยตรง วิทยาศาสตร์สนใจทำการศึกษาค้นคว้าทดลองตามหลักการของตน เพื่อตอบปัญหาในสิ่งที่วิทยาศาสตร์สนใจ
ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ต่างมีพื้นฐานบนความจริงที่มนุษย์ตั้งคำถามและพยามศึกษาหาคำ ตอบในประเด็น/โจทย์ที่สอดคล้องกับบริบทตามธรรมชาติของตน โดยสรุปภาพรวมได้ดังนี้
1 ในฐานะที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ ย่อมมีจุดหมาย คือ การแสวงหาความจริง อันเป็นคุณลักษณะโดยทั่วไปของทุกศาสตร์ แต่ความจริงที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์มุ่งตอบนี้มีรายละเอียดด้านคำถาม และวิธีการตอบที่แตกต่างกัน กล่าวคือ
ก. ในขณะที่ปรัชญาตั้งคำถามว่า "ความจริงคืออะไร รู้ได้อย่างไรและเอาอะไรมาตัดสินความจริง?" (What/Why to be) อันเป็นคำถามที่พิจารณาถึงคุณค่าและความหมายของความจริง โดยยึดสิ่งนั้น (Object) เป็นศูนย์กลาง โดยไม่ใส่ใจว่าความจริงของสิ่งนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในชีวิตหรือ ไม่ ในขณะที่วิทยาศาสตร์ตั้งคำถามว่า "ความจริงเป็นอย่างไร จะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร" (How to be) อันเป็นคำถามที่ยึดมนุษย์เป็นศูนย์กลางในการตั้งและตอบคำถาม (Subject) วิทยาศาสตร์จึงสนใจคำตอบในรายละเอียดของสิ่งนั้น เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน /อนาคต (ความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิต)
ข. ปรัชญาจะเน้นการแสวงหาความจริงโดยอาศัยสติปัญญา ตามหลักเหตุ-ผล (ใช้ตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือ มุ่งสู่มโนภาพ/สากลของสิ่งนั้น) ในขณะที่วิทยาศาสตร์เน้นประสบการณ์ที่สามารถพิสูจน์ได้ในระดับประสาทสัมผัส เพื่อค้นหากฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เพื่อควบคุมหรือคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น
2 ความรู้ด้านปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ต่างสะท้อนถึงคุณลักษณะพิเศษของมนุษย์ ในฐานะเป็นผู้มีสติปัญญา พยายามศึกษาค้นคว้าหาคำตอบเกี่ยวกับความจริง แต่สิ่งที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ใส่ใจมีรายละเอียดต่างกัน กล่าวคือ
ก. ปรัชญาเน้นการตั้งคำถามและตอบตามเหตุ-ผล นำสู่หลักการ
และ แนวทางการดำเนินชีวิต คำตอบจึงยังไม่ขีดเส้นตายสิ้นสุด แต่ยังมีคำตอบที่สามารถโต้แย้งได้ไม่สิ้นสุด ในขณะที่วิทยาศาสตร์จะพิจารณาคำถาม และตอบให้จบเป็นประเด็น ๆ ไป คำตอบที่ได้รับมีลักษณะเป็นสากล
ข. ปรัชญาสะท้อนถึงธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นอะไรมากกว่ากฎเกณฑ์หรือหลักการที่ ตายตัว ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ทั้งหมด เพราะมนุษย์มีสติปัญญา มีความสำนึก มีเสรีภาพที่สามารถตัดสินใจเลือกวิถีชีวิตของตน ในขณะที่วิทยาศาสตร์สะท้อนให้เห็นถึงคุณลักษณะของมนุษย์ที่ยังคงมีความต้อง การในระดับประสาทสัมผัส ที่จำเป็นต้องได้รับการสนองความต้องการ
ใน ฐานะที่ปรัชญาเป็น "ศาสตร์แห่งศาสตร์ทั้งหลาย" (ก่อนที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างไร ต้องรู้ก่อนว่าสิ่งนั้นเป็นอะไร) เราจึงพอจะมองเห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ปรัชญาเป็นเหมือนกับ "มารดา" ที่มีวิทยาศาสตร์เป็นดัง "บุตร" วิทยาศาสตร์เป็นการต่อยอดความรู้ความจริงของมนุษย์ เพื่อการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
5-6 . วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างไร
วิธีทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ (Scientific method) เป็นหลักการพื้นฐานของการตรวจสอบและเสาะหาความรู้ใหม่แบบวิทยาศาสตร์ ที่ใช้หลักฐานทางกายภาพ นักวิทยาศาสตร์เสนอความเชื่อใหม่เกี่ยวกับโลกในรูปของทฤษฎีที่ผ่านขั้นตอนของ การสังเกต, การตั้งสมมติฐาน, และการอนุมาน ผลการทำนายของทฤษฎีเหล่านี้จะถูกทดสอบด้วยการทดลอง ถ้าผลการทำนายนั้นถูกต้องหรือสอดคล้องกับการทดลอง ทฤษฎีดังกล่าวจะถูกเก็บไว้ ทฤษฎีที่ความน่าเชื่อถือจะถูกนำไปทดลองซ้ำเพื่อยืนยันความถูกต้องเพิ่มเติม ระเบียบวิธีนี้ถูกจัดให้เป็นตรรกะสำคัญของธรรมเนียมปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ โดยสาระสำคัญนั้นระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือวิธีการที่รอบคอบมาก สำหรับสร้างความเข้าใจ ที่มีหลักฐานและยืนยันได้เกี่ยวกับโลก
องค์ประกอบสำคัญของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือการวนซ้ำของขั้นตอนด้านล่าง และการใช้วิธีดังกล่าวซ้ำภายในขั้นตอนย่อย:
1. การระบุลักษณะเฉพาะ (Characterization)
2. การตั้งสมมติฐาน (การสร้างคำอธิบายเชิงทฤษฎีที่มีความเป็นไปได้)
3. การทำนายผล (การอนุมานเชิงตรรกศาสตร์จากสมมติฐาน)
4. การทดลอง (การทดสอบขั้นตอนทั้งหมด)
ขั้นตอนด้านบนคือระเบียบวิธีแบบสมมติฐาน-อนุมาน และใช้การสังเกตในขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่สี่ แต่ละขั้นตอนจะต้องผ่านกระบวนการ peer review เพื่อป้องกันความผิดพลาด กิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้ระบุสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทำทั้งหมด (ดูด้านล่าง) แต่อธิบายถึงวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง (เช่น ฟิสิกส์ และเคมี) ขั้นตอนด้านต้นมักใช้ในการเรียนการสอน1
7-8 วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่นอย่างไร
วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่น คือ
1. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งอธิบายปรากฏการณ์ความจริงของธรรมชาติผ่านกระบวนการ
ทดลองหาหลักฐานเชิงประจักษ์ มีผลต่อการควบคุมและประยุกต์ต่อการคิดค้นเทคโนโลยีเพื่อมนุษยชาติ
2. คุณค่าของวิทยาศาสตร์มีต่อการเพิ่มค่าทางเศรษฐกิจ การค้นหาความจริง และเพิ่มค่าทางปัญญา (Eonomic Values, Truth Searching Values, Wisdom Values)
3. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่สัมพันธ์กันระหว่างวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) สังคมศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ (Medical Science) และเศรษฐศาสตร์
4. เป้าประสงค์สูงสุดของวิทยาศาสตร์ คือ นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้จาก วิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อความผาสุก และการมีชีวิตที่มีคุณภาพของมนุษย์ การวางนโยบายและการ ตัดสินใจในยุทธศาสตร์ของประเทศ ควรมุ่งส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ การประยุกต์วิทยาศาสตร์ เพื่อสังคมที่พัฒนาอย่างยั่งยืน
5. การวางนโยบายของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ควรมีเป้าประสงค์ไปที่พัฒนาความ สามารถ
(Capacity Building) ของมนุษย์ สังคม และสถาบันต่าง ๆ ในการมีพื้นฐานความรู้ ความคิด กระบวน
วิธีการ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ให้ส่งผลต่อการเพิ่มกำลังการผลิต และส่งผลต่อการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ
7. หลักการสำคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ระหว่างชาติ คือ หนึ่งโลก หนึ่งวิทยาศาสตร์ และหนึ่งมนุษยชาติ (One Planet, One Science, One Mankind) วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้ (Knowledge) เป็นกระบวนการ (Process) เป็นเครื่องมือ (Tools) และเป็นผลิตผล(Product)
8. ยึดหลักจริยศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เช่น
8.1 ความรู้คู่กับความรับผิดชอบต่อมวลมนุษย์ เคารพสิทธิการเป็นมนุษย์ที่เสมอภาคกัน
8.2 วิทยาศาสตร์รับผิดชอบต่อการส่งผล (Accountable Responsibility) ช่วยแก้ปัญหาที่เป็นความกดดันของสังคม ความยากจน ไม่มีอคติ มุ่งต่อคุณประโยชน์ ต่อคน สังคม สิ่งแวดล้อม
8.3 มีความสมดุลระหว่างการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ (Property Right) กับการแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ใหม่ ๆ ให้กับมนุษย์ในประเทศที่มีระดับพัฒนา ด้อยกว่า จริงใจในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ ของชาติต่าง ๆ ให้ทัดเทียมเสมอภาคและลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ
8.4 การจัดการเรียนการสอน ควรพัฒนาจริยธรรมควบคู่กับความรู้ สร้างเจตคติที่ดี ต่อมวลมนุษย์ และความเมตตากรุณา (Compassion)
9. วิทยาศาสตร์ช่วยสร้างวัฒนธรรมใหม่ของสังคมที่ยึดถือเหตุผล ความจริง การวิจั คิดค้นแสวงหานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาและปรับปรุงความเป็นอยู่ มีความสมดุลระหว่างการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
10. ทิศทางใหม่ ๆ ของการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น การวิจัยพัฒนาการผลิตอาหาร พันธุศาสตร์ (Genetic Engineering) ยารักษาโรค การแสวงหา แหล่งน้ำและพลังงานผ่านทาง GIS (Geographic Information System) การวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
11. กลไกสำคัญความสำเร็จของการพัฒนาวิทยาศาสตร์อยู่ที่นโยบายระดับชาติ การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยพัฒนา การปฏิรูปบทบาทของสถาบันและมหาวิทยาลัย การสร้างชุมชนวิทยาศาสตร์ระดับท้องถิ่น ชาติ และระดับโลก (Global Scientific Community
9-10 การนำหลักปรัชญาและวิสัยทัศน์มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างไร
วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) เป็น
แผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาและบริหารประเทศโดยยึดหลักทาง สายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังนี้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
การจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของสังคมไทยใน ๒๐ ปีข้างหน้า โดยนำความคิดของทุกฝ่ายในสังคมและทุกระดับทั้งระดับจังหวัด ระดับอนุภาค และระดับชาติ มาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบให้เกิดเป็น “วิสัยทัศน์ร่วม” ที่สังคมไทยยอมรับร่วมกัน โดยคำนึงถึงสถานการณ์และกระแส การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ที่จะมีผลต่อการกำหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาประเทศในอนาคตได้อย่างสมเหตุสมผล มีจุดมุ่งหมายและค่านิยมร่วม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งให้คนไทยสามารถพึ่งตนเองได้ พร้อมที่จะเรียนรู้โลกาภิวัตน์และรู้จักเลือกนำมาใช้อย่างมีเหตุผล โดยยึดหลักทางสายกลางและมีภูมิคุ้มกัน ทั้งนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาได้ทุกระดับ ตั้งแต่การดำรงวิถีชีวิตส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และยังปรับใช้ได้กับทุกสาขาการพัฒนา ซึ่งจะนำไปสู่สังคมไทยที่พึงประสงค์ ตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงและสร้างคุณค่าที่ดีให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงเป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระยะปานกลางที่มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาว และมีการดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ในด้านแนวคิดที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ สมดุล ทั้งด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ไขปัญหาความยากจน การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้พ้นจากวิกฤต พร้อมไปกับการ วางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง และการสร้างระบบการบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุกระดับ
ลักษณะสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ คือ เป็นแผนที่ดำเนินการในช่วงเปลี่ยนผ่านสำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศ ทำให้จำเป็นต้องปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมที่ยัง
ไม่ได้ดำเนินการและคั่งค้างมาจากระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการที่ดีที่มีการระดมทรัพยากรที่มีอยู่จากทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งทุนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงมีความ
แตกต่างจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ที่จุดเน้นการให้ความสำคัญกับแนวทางการพัฒนาที่มีความชัดเจนเพียงพอสามารถนำไปจัดทำแผนปฏิบัติต่อได้ และสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดสรรทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่จำกัดให้เหมาะสมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมตลอดทั้งยังให้ความสำคัญกับการจัดระบบกลไกบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สามารถแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
1-2. วิทยาศาสตร์คืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร
วิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการค้นหาความรู้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนที่สามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีขั้นตอนและสามารถตรวจสอบได้ จึงได้ความรู้ที่มีระเบียบกฎเกณฑ์ และ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว
มีความเป็นมาอย่างไร คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ โดยทั่วไปเราถือกันว่า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ เริ่มต้นในยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ โดยมี "บิดาแห่งวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ คือ “กาลิเลโอ กาลิเลอี” เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป ณ. ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้
• ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน”แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด "
• ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์
เวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่นๆ ของวิทยาศาสตร์ก่อนหน้านั้น ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ) โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่ อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น
การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์ เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่นๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้ ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์ขยะ" หรือศาสตร์ปลอม
3-4. ปรัชญาวิทยาศาสตร์คืออะไร เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร
ปรัชญาวิทยาศาสตร์คือ ปรัชญาเน้นในเรื่องของความเชื่อของที่ไปที่มาของความรู้ ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิพากษ์วิจารย์วิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์มโนทัศน์ และในการศึกษาธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ การวิพากษ์แสดงความเห็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยวิเคราะห์ถึงการปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ อาจจะอยู่ในรูปของการดำเนินการด้วยตัวเองโดยตรงเช่นการวิพากวิจารย์จิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการ และในเทอมของนโยบายทางสังคมเป็นต้นว่าการเข้าไปเกี่ยวข้องกับการวิจัยทางด้านพันธุศาสตร์ของมนุษย์
ส่วนการวิเคราะห์มโนทัศน์ได้แก่การอภิปรายและสำรวจถึงมโนทัศน์หลักที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ เช่นอะไรที่เป็นธรรมชาติของการคัดเลือกตามธรรมชาติ อะไรที่นักเคมีหมายความถึงโดยสารเหตุ การเคลื่อนพัดล่องลอยไปนั้นคือแรงหรือเปล่า ในกรณีธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ได้มีการกำหนดให้วิทยาศาสตร์ควรจะดำเนินไปเหมือนกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ (inquiry) และอธิบายว่าวิทยาศาสตร์ดำเนินไปอย่างไรเช่นเดียวกับวิธีการสืบเสาะหาความรู้ เช่นในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (paradigm shifts) การวิวัฒนาการ และวิวัฒนาการของชาติพันธ์เกี่ยวกับความคิด(evolution and phylogny of idea)
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์คือ วิทยาศาสตร์และปรัชญาต่างมีธรรมชาติของตน วิทยาศาสตร์ไม่ใช่ปรัชญา เพราะว่ามันเจาะจงศึกษาความจริงเพื่อนำไปใช้สู่ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต นักวิทยาศาสตร์ไม่ได้มุ่งความสนใจไปที่คำถามที่เป็นปัญหาของปรัชญา (ความจริงคืออะไร? รู้ได้อย่างไร? ฯลฯ) โดยตรง วิทยาศาสตร์สนใจทำการศึกษาค้นคว้าทดลองตามหลักการของตน เพื่อตอบปัญหาในสิ่งที่วิทยาศาสตร์สนใจ
ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ต่างมีพื้นฐานบนความจริงที่มนุษย์ตั้งคำถามและพยามศึกษาหาคำ ตอบในประเด็น/โจทย์ที่สอดคล้องกับบริบทตามธรรมชาติของตน โดยสรุปภาพรวมได้ดังนี้
1 ในฐานะที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ ย่อมมีจุดหมาย คือ การแสวงหาความจริง อันเป็นคุณลักษณะโดยทั่วไปของทุกศาสตร์ แต่ความจริงที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์มุ่งตอบนี้มีรายละเอียดด้านคำถาม และวิธีการตอบที่แตกต่างกัน กล่าวคือ
ก. ในขณะที่ปรัชญาตั้งคำถามว่า "ความจริงคืออะไร รู้ได้อย่างไรและเอาอะไรมาตัดสินความจริง?" (What/Why to be) อันเป็นคำถามที่พิจารณาถึงคุณค่าและความหมายของความจริง โดยยึดสิ่งนั้น (Object) เป็นศูนย์กลาง โดยไม่ใส่ใจว่าความจริงของสิ่งนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในชีวิตหรือ ไม่ ในขณะที่วิทยาศาสตร์ตั้งคำถามว่า "ความจริงเป็นอย่างไร จะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร" (How to be) อันเป็นคำถามที่ยึดมนุษย์เป็นศูนย์กลางในการตั้งและตอบคำถาม (Subject) วิทยาศาสตร์จึงสนใจคำตอบในรายละเอียดของสิ่งนั้น เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน /อนาคต (ความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิต)
ข. ปรัชญาจะเน้นการแสวงหาความจริงโดยอาศัยสติปัญญา ตามหลักเหตุ-ผล (ใช้ตรรกวิทยาเป็นเครื่องมือ มุ่งสู่มโนภาพ/สากลของสิ่งนั้น) ในขณะที่วิทยาศาสตร์เน้นประสบการณ์ที่สามารถพิสูจน์ได้ในระดับประสาทสัมผัส เพื่อค้นหากฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เพื่อควบคุมหรือคาดการณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น
2 ความรู้ด้านปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ต่างสะท้อนถึงคุณลักษณะพิเศษของมนุษย์ ในฐานะเป็นผู้มีสติปัญญา พยายามศึกษาค้นคว้าหาคำตอบเกี่ยวกับความจริง แต่สิ่งที่ปรัชญาและวิทยาศาสตร์ใส่ใจมีรายละเอียดต่างกัน กล่าวคือ
ก. ปรัชญาเน้นการตั้งคำถามและตอบตามเหตุ-ผล นำสู่หลักการ
และ แนวทางการดำเนินชีวิต คำตอบจึงยังไม่ขีดเส้นตายสิ้นสุด แต่ยังมีคำตอบที่สามารถโต้แย้งได้ไม่สิ้นสุด ในขณะที่วิทยาศาสตร์จะพิจารณาคำถาม และตอบให้จบเป็นประเด็น ๆ ไป คำตอบที่ได้รับมีลักษณะเป็นสากล
ข. ปรัชญาสะท้อนถึงธรรมชาติของมนุษย์ที่เป็นอะไรมากกว่ากฎเกณฑ์หรือหลักการที่ ตายตัว ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้าได้ทั้งหมด เพราะมนุษย์มีสติปัญญา มีความสำนึก มีเสรีภาพที่สามารถตัดสินใจเลือกวิถีชีวิตของตน ในขณะที่วิทยาศาสตร์สะท้อนให้เห็นถึงคุณลักษณะของมนุษย์ที่ยังคงมีความต้อง การในระดับประสาทสัมผัส ที่จำเป็นต้องได้รับการสนองความต้องการ
ใน ฐานะที่ปรัชญาเป็น "ศาสตร์แห่งศาสตร์ทั้งหลาย" (ก่อนที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นเป็นอย่างไร ต้องรู้ก่อนว่าสิ่งนั้นเป็นอะไร) เราจึงพอจะมองเห็นภาพความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาและวิทยาศาสตร์ ปรัชญาเป็นเหมือนกับ "มารดา" ที่มีวิทยาศาสตร์เป็นดัง "บุตร" วิทยาศาสตร์เป็นการต่อยอดความรู้ความจริงของมนุษย์ เพื่อการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
5-6 . วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างไร
วิธีทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ (Scientific method) เป็นหลักการพื้นฐานของการตรวจสอบและเสาะหาความรู้ใหม่แบบวิทยาศาสตร์ ที่ใช้หลักฐานทางกายภาพ นักวิทยาศาสตร์เสนอความเชื่อใหม่เกี่ยวกับโลกในรูปของทฤษฎีที่ผ่านขั้นตอนของ การสังเกต, การตั้งสมมติฐาน, และการอนุมาน ผลการทำนายของทฤษฎีเหล่านี้จะถูกทดสอบด้วยการทดลอง ถ้าผลการทำนายนั้นถูกต้องหรือสอดคล้องกับการทดลอง ทฤษฎีดังกล่าวจะถูกเก็บไว้ ทฤษฎีที่ความน่าเชื่อถือจะถูกนำไปทดลองซ้ำเพื่อยืนยันความถูกต้องเพิ่มเติม ระเบียบวิธีนี้ถูกจัดให้เป็นตรรกะสำคัญของธรรมเนียมปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ โดยสาระสำคัญนั้นระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือวิธีการที่รอบคอบมาก สำหรับสร้างความเข้าใจ ที่มีหลักฐานและยืนยันได้เกี่ยวกับโลก
องค์ประกอบสำคัญของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์คือการวนซ้ำของขั้นตอนด้านล่าง และการใช้วิธีดังกล่าวซ้ำภายในขั้นตอนย่อย:
1. การระบุลักษณะเฉพาะ (Characterization)
2. การตั้งสมมติฐาน (การสร้างคำอธิบายเชิงทฤษฎีที่มีความเป็นไปได้)
3. การทำนายผล (การอนุมานเชิงตรรกศาสตร์จากสมมติฐาน)
4. การทดลอง (การทดสอบขั้นตอนทั้งหมด)
ขั้นตอนด้านบนคือระเบียบวิธีแบบสมมติฐาน-อนุมาน และใช้การสังเกตในขั้นตอนแรกและขั้นตอนที่สี่ แต่ละขั้นตอนจะต้องผ่านกระบวนการ peer review เพื่อป้องกันความผิดพลาด กิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้ระบุสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทำทั้งหมด (ดูด้านล่าง) แต่อธิบายถึงวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง (เช่น ฟิสิกส์ และเคมี) ขั้นตอนด้านต้นมักใช้ในการเรียนการสอน1
7-8 วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่นอย่างไร
วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับสังคม และท้องถิ่น คือ
1. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มุ่งอธิบายปรากฏการณ์ความจริงของธรรมชาติผ่านกระบวนการ
ทดลองหาหลักฐานเชิงประจักษ์ มีผลต่อการควบคุมและประยุกต์ต่อการคิดค้นเทคโนโลยีเพื่อมนุษยชาติ
2. คุณค่าของวิทยาศาสตร์มีต่อการเพิ่มค่าทางเศรษฐกิจ การค้นหาความจริง และเพิ่มค่าทางปัญญา (Eonomic Values, Truth Searching Values, Wisdom Values)
3. วิทยาศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่สัมพันธ์กันระหว่างวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) สังคมศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ (Medical Science) และเศรษฐศาสตร์
4. เป้าประสงค์สูงสุดของวิทยาศาสตร์ คือ นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้จาก วิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อความผาสุก และการมีชีวิตที่มีคุณภาพของมนุษย์ การวางนโยบายและการ ตัดสินใจในยุทธศาสตร์ของประเทศ ควรมุ่งส่งเสริมการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ การประยุกต์วิทยาศาสตร์ เพื่อสังคมที่พัฒนาอย่างยั่งยืน
5. การวางนโยบายของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ควรมีเป้าประสงค์ไปที่พัฒนาความ สามารถ
(Capacity Building) ของมนุษย์ สังคม และสถาบันต่าง ๆ ในการมีพื้นฐานความรู้ ความคิด กระบวน
วิธีการ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ให้ส่งผลต่อการเพิ่มกำลังการผลิต และส่งผลต่อการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ
7. หลักการสำคัญของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ระหว่างชาติ คือ หนึ่งโลก หนึ่งวิทยาศาสตร์ และหนึ่งมนุษยชาติ (One Planet, One Science, One Mankind) วิทยาศาสตร์เป็นองค์ความรู้ (Knowledge) เป็นกระบวนการ (Process) เป็นเครื่องมือ (Tools) และเป็นผลิตผล(Product)
8. ยึดหลักจริยศาสตร์ในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เช่น
8.1 ความรู้คู่กับความรับผิดชอบต่อมวลมนุษย์ เคารพสิทธิการเป็นมนุษย์ที่เสมอภาคกัน
8.2 วิทยาศาสตร์รับผิดชอบต่อการส่งผล (Accountable Responsibility) ช่วยแก้ปัญหาที่เป็นความกดดันของสังคม ความยากจน ไม่มีอคติ มุ่งต่อคุณประโยชน์ ต่อคน สังคม สิ่งแวดล้อม
8.3 มีความสมดุลระหว่างการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ (Property Right) กับการแบ่งปันถ่ายทอดความรู้ใหม่ ๆ ให้กับมนุษย์ในประเทศที่มีระดับพัฒนา ด้อยกว่า จริงใจในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ ของชาติต่าง ๆ ให้ทัดเทียมเสมอภาคและลดช่องว่างทางเศรษฐกิจ
8.4 การจัดการเรียนการสอน ควรพัฒนาจริยธรรมควบคู่กับความรู้ สร้างเจตคติที่ดี ต่อมวลมนุษย์ และความเมตตากรุณา (Compassion)
9. วิทยาศาสตร์ช่วยสร้างวัฒนธรรมใหม่ของสังคมที่ยึดถือเหตุผล ความจริง การวิจั คิดค้นแสวงหานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาและปรับปรุงความเป็นอยู่ มีความสมดุลระหว่างการสร้างฐานะทางเศรษฐกิจกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
10. ทิศทางใหม่ ๆ ของการวิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ เช่น การวิจัยพัฒนาการผลิตอาหาร พันธุศาสตร์ (Genetic Engineering) ยารักษาโรค การแสวงหา แหล่งน้ำและพลังงานผ่านทาง GIS (Geographic Information System) การวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
11. กลไกสำคัญความสำเร็จของการพัฒนาวิทยาศาสตร์อยู่ที่นโยบายระดับชาติ การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการวิจัยพัฒนา การปฏิรูปบทบาทของสถาบันและมหาวิทยาลัย การสร้างชุมชนวิทยาศาสตร์ระดับท้องถิ่น ชาติ และระดับโลก (Global Scientific Community
9-10 การนำหลักปรัชญาและวิสัยทัศน์มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างไร
วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๙) เป็น
แผนที่ได้อัญเชิญแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนาและบริหารประเทศโดยยึดหลักทาง สายกลาง เพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง และนำไปสู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ดังนี้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
การจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกันของสังคมไทยใน ๒๐ ปีข้างหน้า โดยนำความคิดของทุกฝ่ายในสังคมและทุกระดับทั้งระดับจังหวัด ระดับอนุภาค และระดับชาติ มาสังเคราะห์เชื่อมโยงเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบให้เกิดเป็น “วิสัยทัศน์ร่วม” ที่สังคมไทยยอมรับร่วมกัน โดยคำนึงถึงสถานการณ์และกระแส การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ที่จะมีผลต่อการกำหนดวิสัยทัศน์ การพัฒนาประเทศในอนาคตได้อย่างสมเหตุสมผล มีจุดมุ่งหมายและค่านิยมร่วม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุ่งให้คนไทยสามารถพึ่งตนเองได้ พร้อมที่จะเรียนรู้โลกาภิวัตน์และรู้จักเลือกนำมาใช้อย่างมีเหตุผล โดยยึดหลักทางสายกลางและมีภูมิคุ้มกัน ทั้งนี้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกต์ใช้เป็นพื้นฐานของการพัฒนาได้ทุกระดับ ตั้งแต่การดำรงวิถีชีวิตส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และยังปรับใช้ได้กับทุกสาขาการพัฒนา ซึ่งจะนำไปสู่สังคมไทยที่พึงประสงค์ ตลอดจนมีการเปลี่ยนแปลงและสร้างคุณค่าที่ดีให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงเป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระยะปานกลางที่มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ระยะยาว และมีการดำเนินการต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ในด้านแนวคิดที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” และให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่ สมดุล ทั้งด้านตัวคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ไขปัญหาความยากจน การฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้พ้นจากวิกฤต พร้อมไปกับการ วางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็ง และการสร้างระบบการบริหารจัดการภายในที่ดีให้เกิดขึ้นในทุกระดับ
ลักษณะสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ คือ เป็นแผนที่ดำเนินการในช่วงเปลี่ยนผ่านสำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศ ทำให้จำเป็นต้องปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมที่ยัง
ไม่ได้ดำเนินการและคั่งค้างมาจากระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการที่ดีที่มีการระดมทรัพยากรที่มีอยู่จากทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งทุนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ จึงมีความ
แตกต่างจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ที่จุดเน้นการให้ความสำคัญกับแนวทางการพัฒนาที่มีความชัดเจนเพียงพอสามารถนำไปจัดทำแผนปฏิบัติต่อได้ และสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดสรรทรัพยากรของประเทศที่มีอยู่จำกัดให้เหมาะสมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมตลอดทั้งยังให้ความสำคัญกับการจัดระบบกลไกบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สามารถแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)